ReadyPlanet.com


กุ้ง


   กุ้งที่นิยมเลี้ยงในปัจจุบันของภาคใต้ กว่า 90% เป็นกุ้งขาว รองลงมาคือกุ้งกุลาดำ สำหรับแชบ๊วยมักเป็นการเลี้ยงในนาธรรมชาติ ส่วนกุ้งก้ามกรามมีการเลี้ยงมากในจังหวัดพัทลุง โดยกุ้งแต่ละชนิมีลักษณะแตกต่างกันดังนี้

            อ้างอิงlucaclub88                           บาคาร่าออนไลชื่อดังของไทย

1. กุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon  Frabricius)

ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus monodon  Fabricius, 1798

ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ: Giant Tiger Prawn

ชื่อสามัญภาษาไทย: กุ้งกุลาดำ

ลักษณะทางกายภาพ
เป็นกุ้งที่มีขนาดใหญ่ มีความยาว ประมาณ 18-25 ซม.
เปลือกหัวเกลี้ยงไม่มีขน
ฟันกรีด้านบน 7-8 ซี่ ด้านล่าง 3 ซี่
ช่องข้างกรีทั้งสองด้านแคบและ ยาวไม่ถึงฟันกรีซี่สุดท้าย
สันข้างตับ (hepatic crest) ยาว ขนานกับลำตัว
ขาเดินคู่ที่ 5 ไม่มีเอ็กโซพอด
ลำตัวมีสีน้ำตาลเข้มกับสีจางพาด ขวาง
ลายที่หนวดไม่ชัดเจน กรีโค้งยาว
ลักษณะนิสัย:
        กุ้งกุลาดำโตเต็มวัยชอบ อาศัยพื้นดินโคลน โคลนปนทราย ในทะเลลึก วัยอ่อนเป็นแพลงก์ตอนว่ายน้ำได้อย่างอิสระ วัยรุ่นเคลื่อน ย้ายเข้าสู่ชายฝั่งเพื่อเลี้ยงตัวและ เดินทางกลับสู่ทะเลเมื่อโตเต็มวัยเพื่อผสมพันธุ์ มีความทนทานสูง สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ได้ดี อยู่ได้ทั้งน้ำที่อุณหภูมิสูง ความเค็มสูงและสามารถนำมาปรับ ให้เลี้ยงในน้ำที่มีความเค็มต่ำได้โตเร็ว จึงเป็นกุ้งที่นิยมนำมาเลี้ยง มีราคาแพง
 
ถิ่นอาศัย: แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในทะเลแถบอินโดแปซิกฟิกตะวันตกอัฟริกาตะวันออกและตะวันตกเฉียงใต้และคาบสมุทรอินเดีย ปัจจุบันสามารถพบได้ตั้งแต่แถบมหาสมุทรแปซิฟิกจนถึงมหาสมุทรอินเดีย  ซึ่งได้แก่ประเทศ ญี่ปุ่นตอนใต้ ไต้หวัน เกาหลี ฮ่องกง ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย ศรีลังกา อินเดีย ปากีสถาน ทานซานเนีย  แอฟริกาใต้ และออสเตรเลีย (Motoh, 1981)
 
2. กุ้งแชบ๊วย  มี 2 ชนิดที่นิยมเลี้ยง ดังนี้
 
2.1  กุ้งแชบ๊วยหางแดง (Penaeus indicus)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus indicus
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:  Banana Prawn
ชื่อสามัญภาษาไทย: กุ้งแชบ๊วยหางแดง                                   TAGS:lucaclub88
 
ลักษณะทางกายภาพ:
ตัวเมียขนาดใหญ่สุด 23 ซม. ตัวผู้ปะมาณ 18.4 ซม.
ลำตัวสีครีมหรือชมพูอ่อนมีจุดสีน้ำเงินหรือสีน้ำตาลปนแดงประทั้งตัว
ปลายหางมีสีน้ำตาลแดง
สันกรีสูงและยาวเกือบถึงขอบหลังของเปลือกหัว
ฟันกรีด้านบน 6-7 ซี่ ด้านล่าง 4-5 ซี่
ส่วนร่องบนกรีมองเห็นได้ชัด ยาวเกือบถึงกึ่งกลางของเปลือกหัว
ปลายหางยาวแหลม ด้านบนเป็นร่อง ด้านล่างไม่มีหนามแหลม
ลักษณะนิสัย:
        ชอบอาศัยอยู่ในดินโคลน สามารถอยู่ได้ทั้งน้ำกร่อยและน้ำทะเลในระดับความเค็ม 5-40 ส่วนในพัน    มักพบในทะเลลึกไม่เกิน 30 เมตร  กุ้งระยะวัยรุ่นอาศัยในบริเวณน้ำกร่อย
 
ถิ่นอาศัย:
        พบทั่วไป แอฟริกา ปากีสถาน อินเดีย บังคลาเทศ ไทย มาเลเซีย ฟิลลิปินส์ อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย
 
2.2 กุ้งแชบ๊วยหางเขียว(Penaeus merguiensis (De Man, 1888))
ชื่อวิทยาศาสตร์: Penaeus merguiensis (De Man, 1888)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:  Banana Prawn
ชื่อสามัญภาษาไทย: กุ้งแชบ๊วยหางเขียว
ลักษณะทางกายภาพ:
เป็นกุ้งสีขาวมีขนาดใหญ่ มีความยาวประมาณ 18-25 ซม.
กรีอยู่ในแนวระดับยาวเป็น 0.8 เท่าของความยาวของเปลือกหัว
ฟันกรีด้านบน 6-7 ซี่ ด้านล่าง 4-5 ซี่
ช่องข้างกรีและร่องข้างกรีตื้น และจางหายไปในแถบตอนกลางของเปลือกหัว
ส่วนของกรีมีลักษณะสามเหลี่ยม
ลักษณะนิสัย:
ชอบอาศัยอยู่ในดินโคลน สามารถอยู่ได้ทั้งน้ำกร่อยและน้ำทะเล  มักพในทะเลลึกตั้งแต่ 10-45 เมตร
 
ถิ่นอาศัย:
พบทั่วไปในอ่าวไทยและมหาสมุทรแปซิฟิค ฮ่องกง อินโดนีเซีย นิวซีแลนโ ออสเตรเลีย
 
3. กุ้งขาว หรือ กุ้งขาวแปซิฟิก (Litopenaeus vannamei)   
 
ชื่อวิทยาศาสตร์: (Litopenaeus vannamei)
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:  Pacific white shrimp
ชื่อสามัญภาษาไทย: กุ้งขาวแปซิฟิก
 
ลักษณะทางกายภาพ:เปลือกหัวและลำตัว มีสีขาวอมชมพูถึงแดง ปลายหางสีแดงเข้ม
ร่องบนกรีมองเห็นได้ชัด
หัวสันกรีสูง ปลายกรีแคบ ส่วนของกรีมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมีสีแดง อมน้ำตาล กรีด้านบนมีฟัน 8 ซี่ กรีด้านล้างมีฟัน 2 ซี่
หนวดยาวสีแดง 2 เส้น
ลักษณะนิสัย:
หากินทุกระดับความลึกของน้ำ ชอบว่ายล่องน้ำเก่ง ลอกคราบเร็วทุกๆ สัปดาห์ ไม่หมกตัว
 
ถิ่นอาศัย:เป็นกุ้งที่มีถิ่นกำเนิดจากมหาสมุทรแปซิฟิค เช่น ชายฝั่งในอมริกากลางและอเมริกาใต้
 
 
4. กุ้งก้ามกราม   (Macrobrachuim rosenbergii de man)   
 
ชื่อวิทยาศาสตร์: Macrobrachuim rosenbergii de man
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ:  Giant Fershwater Prawn
ชื่อสามัญภาษาไทย: กุ้งก้ามกราม   กุ้งนาง กุ้งหลวง
ลักษณะทางกายภาพ:
กุ้งก้ามกรามมีลำตัวเป็นปล้อง ส่วนหัวและอกคลุมด้วยเปลือกชิ้นเดียวกัน  
กรีมีลักษณะโค้งขึ้นมีลักษณะหยักเป็นฟันเลื่อยโดยด้านบนมีจำนวนระหว่าง 13 - 16 ชี่ด้านล่างมีจำนวนระหว่าง 10-14 ชี่
โคนกรีกว้างและหนากว่า ปลายกรียาวถึงแผ่นฐานหนวดคู่ที่ 2
ขาคู่หนึ่งและที่สอง ตรงปลายมีลักษณะเป็นก้าม ส่วนคู่ที่สามสี่ ห้าตรงปลายมีลักษณะเป็นปลาย แหลมธรรมดา ขาเดินคู่ที่สองที่มีลักษณะเป็นก้ามนั้นถ้าเป็นกุ้งตัวผู้จะมีลักษณะใหญ่มาก
ส่วนแพนหางมีลักษณะแหลมตรงปลายด้านข้างเป็นแพนออกไป 2 ข้าง   
สีของกุ้งก้ามกรามโดยทั่วไปมีสีน้ำเงินอมเหลืองโดยเฉพาะขาเดินคู่ที่เป็นก้ามและส่วนของลำตัวมีสีน้ำเงินเข้ม ปลายขามักเป็นชมพูอมแดง แพนหางตอนปลายมีสีชมพูอมแดงทั่วๆ ไป
ลักษณะนิสัย:
        กุ้งก้ามกรามเป็นสัตว์สองน้ำ กุ้งขนาดใหญ่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ตามบริเวณหน้าดินของ
 
        แม่น้ำลำคลองซึ่งน้ำอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ มีความต้องการออกซิเจนสูง จึงมักพบกุ้งชนิดนี้ที่บริเวณน้ำไหลและใสสะอาด มีนิสัยหลบซ่อนตัวอยู่บริเวณตามรากไม้และเสา ตลอดจนหินผาที่จมอยู่ใต้น้ำมีความไวต่อแสง ว่องไวและปราดเปรียว หลบหลีกศัตรูได้คล่องแคล่วเมื่อถูกรบกวน ตามปกติกุ้งก้ามกรามออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนในตอนกลางวันจะซุกซ่อนตัวตามสภาพแวดล้อมข้างต้น กุ้งชนิดนี้สามารถกินอาหารได้ทุกประเภทโดยไม่เลือก ทั้งอาหารเป็นและซากที่เน่าสลายแล้วทั้งพืชและสัตว์ได้แก่ เนื้อปลา หอย พันธุ์ไม้น้ำ เมล็ดข้าว ถั่ว ตัวอ่อนของแมลง หนอน ฯลฯ
 
        กุ้งก้ามกรามมีสัญชาติญาณในการเดินทางเพื่อการวางไข่ และหาอาหารเพื่อการเจริญเติบโต เมื่อถึงฤดูวางไข่ในท้องที่จังหวัดทางภาคใต้ระหว่างเดือนตุลาคม-กุมภาพันธ์ และในจังหวัดทางภาคกลางระหว่างเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม  กุ้งเพศเมียจะเดินทางจากแม่น้ำลำคลองส่วนที่มีสภาพน้ำจืดไปยังบริเวณใกล้ปากแม่น้ำหรือปากทะเลสาป เพื่อการวางไข่และฟักไข่ ทั้งนี้เนื่องจากลูกกุ้งวัยอ่อนที่ฟักเป็นตัวจากไข่แล้ว มีความต้องการอาศัยอยู่ในน้ำทะเลซึ่งมีความเค็มสูงและอุดมด้วยเกลือแร่ จึงจำเป็นต้องเดินทางไปยังแหล่งน้ำเค็มตามบริเวณดังได้กล่าวแล้ว ลูกกุ้งจะวิวัฒนาการเจริญเติบโตขึ้นโดยลำดับในน้ำที่มีสภาพดังกล่าวอยู่ชั่วระยะหนึ่ง เป็นเวลาประมาณ 45-60 วัน  
 
 
ถิ่นอาศัย:
พบในอินเดีย  ไทย เวียดนาม ฟิลลิปปินส์ ออสเตรเลีย
สนับสนุนบทความน่ารู้โดยlucaclub88                   เว๊ป บาคาร่าออนไลติดท๊อปไทย
 
 
 


ผู้ตั้งกระทู้ ที่ (tunaking789-at-gmail-dot-com) :: วันที่ลงประกาศ 2020-06-15 21:14:19


แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล



Lampang Eye Foundation & Lampang School for the Blind